Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/114
Title: DEVELOPING NAI MAE PORK RIND PACKAGING IN LAMPANG PROVINCE
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่ จังหวัดลำปาง
Authors: Pornvajee Bunliang
พรวจี บุญเลี้ยง
Preeda Srinaruewan
ปรีดา ศรีนฤวรรณ
Maejo University. Business Administration
Issue Date: 2018
Publisher: Maejo University
Abstract: This study aimed to identify: 1) problems encountered in Nai Mae pork rind packaging in Lampang province; 2) various components in packaging design; and 3) packaging design which meets satisfaction of consumers.  Entrepreneur interview was used for data collection in order to find a guideline for packaging development in terms of2 aspects: packaging struture design and packaging graphic design.  The sample group in this study consisted of customers and tourists purchasing Nai Mae pork rind at gift shops in Lampang province. Results of the study revealed that the following were problems encountered: 1) the entrepreneurs still lacked of knowledge and understanding about packaging development; 2) the entrepreneur had her own brand but it was not memorized by consumers; 3) materials used for packaging were not appropriate to be a gift; and 4) details on the label did not cover in accordance with the label standard.  Thus, the author developed the packaging in the form of plastic container and plastic films of 20 mm opp and 70 mm polypropylene.  For the packaging which product inside could be seen, the brand must be designed to attract customers such as using modern decorative design and illustration together with details of the product.  Besides, communication channels must be fast and convenient.  All of these could satisfy consumers at a high level.
การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่ จังหวัดลำปาง องค์ประกอบต่างๆ ในการใช้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และทำการพัฒนาออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความพึงพอใจของผู้บริโภค สามารถนำไปใช้จริงได้และสร้างเอกลักษณ์ให้กับสินค้า โดยทำการศึกษาสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และความพึงพอใจในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่ 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และด้านการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์  ใช้วิธีการเลือกจากกลุ่มตัวอย่างคือลูกค้าและนักท่องเที่ยวที่มาเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่ จังหวัดลำปาง บริเวณร้านขายของฝากในจังหวัดลำปาง จากการผลการศึกษาพบว่า  ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่ จังหวัดลำปาง ในภาพรวม คือ ผู้ประกอบการยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีตราสินค้าเป็นของตัวเองแต่ยังไม่เป็นที่จดจำของตลาดและผู้บริโภค วัสดุที่ใช้ทำบรรจุภัณฑ์มีรูปแบบไม่เหมาะแก่การเป็นของฝาก รายละเอียดในฉลากมีไม่ครบตามมาตรฐานของป้ายฉลากสินค้า ผู้วิจัยจึงได้ทำการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์โดยเลือกใช้วัสดุของบรรจุภัณฑ์เป็นพลาสติก (Plastic Container) และใช้ฟิล์มพลาสติกใส opp ความหนา 20 ไมครอน  และ cpp 70 ไมครอน ในส่วนของบรรจุภัณฑ์ที่สามารถมองเห็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใน สร้างตราสินค้าให้เป็นที่จดจำ การใช้ลวดลายและภาพประกอบที่มีความทันสมัย พร้อมทั้งใส่รายละเอียดของสินค้า ช่องทางการติดต่อที่สะดวกรวดเร็ว และจากการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แคบหมูนายแม่และได้ทำการสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภค ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ด้าน พบว่าทั้ง ด้านการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และด้านการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ผู้บริโภคมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ความพึงพอใจมาก
Description: Master of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))
URI: http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/114
Appears in Collections:School of Administrative Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5806401045.pdf3.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.