Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSumittra Uttamoen
dc.contributorสุมิตรา อุตโมth
dc.contributor.advisorThammaporn Tantaren
dc.contributor.advisorธรรมพร ตันตราth
dc.contributor.otherMaejo University. School of Administrative Studiesen
dc.date.accessioned2020-01-17T04:08:37Z-
dc.date.available2020-01-17T04:08:37Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/122-
dc.descriptionMaster of Public Administration (Master of Public Administration (Public Policy and Public Management))en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายและการบริหารสาธารณะ))th
dc.description.abstractThis qualitative study was conducted to investigate: 1) Think base - The occurrence of hygienic management on holistic community - based sanitary; 2) participation of people, community organization groups, agencies, organizations, and hygienic management on holistic community - based sanitary; and 3) suggestions about hygienic management on holistic community - based sanitary. Semi - structured interview schedule was used for data collection. Results of the study revealed that Donkaew community was becoming to be an urban community due to an increase in its population. This caused problems in natural resource/environmental deterioration and public health related to physical and mental health of people there. Local people, community organization groups, agencies and organizations participated in hygienic management in the form of integration. There was correct and appropriate management of personnel and budgets which was consistent with objectives and goals. The management of office supplies, structures and Technogym was appropriate and satisfied by local people because it was both defensive and proactive. The following ware suggestions which should be done: 1) expansion of coordination networks of local people, community organization groups, agencies and organizations; 2) establishment of Marti Council for finding a capital used project implementation; 3) the local administrative organization to Donkaew community hospital and network parties should investigate successful management and push it to be a pitot community. In other words, it should be constructed as a model about the hygienic management on holistic community – based sanitary for sustainability and social benefits.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน กรณีศึกษา: ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาฐานคิด การก่อเกิดการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของ บุคคล กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงาน องค์กร และการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และ 3) เพื่อศึกษาหาข้อเสนอเชิงบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับฐานคิดการก่อเกิดการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพบว่า ชุมชนตำบลดอนแก้วมีการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่จากชนบทเป็นเมืองมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นนำมาสู่ปัญหาด้านสภาพแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหาด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ผลการศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงาน องค์กรและการบริหารจัดการพบว่า การดำเนินโครงการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยมีประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานและองค์กรภาครัฐเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ดำเนินกิจกรรมโครงการและปฏิบัติงานในลักษณะของการบรูณาการ ส่วนการบริหารจัดการใช้แนวทางการบริหารจัดการบุคคลและทีมงาน การบริหารจัดการงบประมาณทั้งในส่วนงบประมาณของรัฐบาลและงบประมาณที่จัดหาเอง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย การบริหารจัดการเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีในปัจจุบันมีความเพียงพอและเหมาะสมต่อการให้บริการประชาชน จนประชาชนผู้มาใช้บริการมีความพึ่งพอใจ เพราะให้บริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับผลการวิจัยเกี่ยวกับข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพบว่า ควรมีการขยายเครือข่ายความร่วมมือกับประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงาน และองค์กรทั้งภายในภายนอกตำบลเพิ่มมากขึ้น ควรมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดตั้งสภาบุญ เพื่อระดมทุนในการนำมาใช้ในการบริหารจัดการ การดำเนินกิจกรรมโครงการและปฏิบัติงาน ประการสำคัญองค์การบริหารส่วนตำบลดอกแก้ว และโรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้วสร้างสุข ร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายควรมีการถอดบทเรียนความสำเร็จแล้วยกระดับเป็นชุมชนต้นแบบโดยสร้างเป็นโมเดลเกี่ยวกับการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อความมั่นคงยั่งยืนและเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวมต่อไปth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการบริหารจัดการth
dc.subjectสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวมth
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้วสร้างสุขth
dc.subjectองค์การบริการส่วนตำบลดอนแก้วth
dc.subjectmanagementen
dc.subjectholistic hygieneen
dc.subjectDonkaew community hospitalen
dc.subjectDonkaew sub - district Administrative organizationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleHYGIENIC MANAGEMENT ON HOLISTIC COMMUNITY – BASED SANITARY: A CASE STUDY OF DONKAEW SUB – DISTRICT ADMINISTRATION, MAE RIM DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleการบริหารจัดการสุขภาวะด้านสุขภาพอนามัยแบบองค์รวม โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน กรณีศึกษา: ในเขตพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:School of Administrative Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6005404006.pdf4.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.