Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิมพิมล, แก้วมณี-
dc.contributor.authorเกวลิน, สมบูรณ์-
dc.date.accessioned2023-05-08T02:05:37Z-
dc.date.available2023-05-08T02:05:37Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1312-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยหรือความสุขของคนในจังหวัดเชียงใหม่ และพัฒนาแบบประเมินความสุขระดับบุคคลอย่างง่าย โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิจัดเก็บจากตัวอย่าง ที่ได้จากการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) จำนวน รวมทั้งสิ้น 465 ราย โดยแบ่งตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยเป็น 2 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ความสุข และ 2) ความพึงพอใจในชีวิต ซึ่งปรับปรุงตัวชี้วัดจากแนวทางการวัดความอยู่ดีมีสุข เชิงอัตวิสัยของ OECD ผลการศึกษาพบว่าคนเชียงใหม่ประเมินตนเองว่ามีความสุขโดยเฉลี่ยในระดับ 7.62 (จาก 10) และมีความพึงพอใจในชีวิตในระดับ 7.89 โดยคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนชนบทมีความอยู่ดีมีสุขในระดับที่สูงกว่าคนใน ชุมชนเมือง ทั้งนี้ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความอยู่ดีมีสุขอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับรายได้และการเข้าร่วม กิจกรรมสาธารณะของชุมชน ในทิศทางเดียวกัน จากผลการวิเคราะห์นี้ ชี้ให้เห็นว่าหากภาครัฐต้องการยกระดับความ อยู่ดีมีสุขของคนในจังหวัดเชียงใหม่ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ และการสร้างสรรค์กิจกรรมจิตอาสาในชุมชนให้มากขึ้น คำสำคัญ: ความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัย ความพึงพอใจในชีวิต เชียงใหม่en_US
dc.publisherChiangmai: Maejo Universityen_US
dc.subjectความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยen_US
dc.subjectความพึงพอใจในชีวิตen_US
dc.subjectsubjective well-beingen_US
dc.subjectSatisfaction with Lifeen_US
dc.titleความสุขของคนเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSubjective Well-being of People in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pimpimol_kaewmanee.pdf18.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.