Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSathinee Watthanakulen
dc.contributorสาธินี วัฒนกุลth
dc.contributor.advisorBongkochmas Ek - Iemen
dc.contributor.advisorบงกชมาศ เอกเอี่ยมth
dc.contributor.otherMaejo Universityen
dc.date.accessioned2023-09-28T06:03:22Z-
dc.date.available2023-09-28T06:03:22Z-
dc.date.created2023-
dc.date.issued2023/3/27-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1648-
dc.description.abstractThe objective of are this study tourism status and factor of Pa-tan community-based tourism: OTOP Inno-life (Nawatvithi) to successful as well as to propose a process to Developing suggestion of Pa-tan village, Buak Khang, San Kamphaeng Districk, Chiang Mai province. Research instruments in this study were quantity and quality by questionnaire, interview and focus group discussion. The sample group in this study included 30 committee OTOP NAWATVITHI Community tourism  and 217 people in village. Result of  the study were the tourism of Pa-tan village is Model from of 42 tourism villages total 3,273 tourism villages in Thailand. In tourise, There are show identity and culture of “Tai-yong” in form temple, learning, restaurant and home stay. In culture There have many religion relations  and tradition of “Tai-yong”. Management Process of committee Community tourism OTOP NAWATVITHI Regarding it was foud that the informants put the importance on the following  most : Management Process of committee Community tourism OTOP NAWATVITHI Regarding it was foud that the informants put the importance on the following most are Staff,skill,structure,Shared Values, Systems, Style, Strategy respectively and Regarding factor cause successful of tourism community OTOP NAWATVITHI in terms of the following are participation , leader , regulations, Management ,capital and marketing the researcher determined 6 strategies as a the recommendation community tourism development strategy for banpatan 1)strategy to further the original community-based tourism 2)strategy cooperation for Sustainable Tourism  3) strategy develop public relations tourism 4)Personal development strategy 5)strategy promoting Marketing for tourism 6) strategy create prominent point of tourist attractionen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของการท่องเที่ยวและปัจจัยสู่ความสำเร็จของการท่องเที่ยวOTOPนวัตวิถีรวมไปถึงศึกษากระบวนการขั้นตอนการบริหารจัดการของกลุ่มท่องเที่ยวและจัดทำข้อเสนอแนวทางกลยุทธ์ของการพัฒนาการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีชุมชนบ้านป่าตาลตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้ระเบียบวิจัยทั้งแบบปริมาณและคุณภาพโดยใช้เครืองมือได้แก่แบบสอบถามแบบสัมภาษณ์และการจัดสนทนาแบบกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือคณะกรรมการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีชุมชนบ้านป่าตาลจำนวน 30 คนและคนในชุมชนบ้านป่าตาลจำนวน 217 คน  ผลการศึกษาพบว่าการท่องเที่ยวของบ้านป่าตาลนั้นได้รับรางวัลหมู่บ้านต้นแบบOTOPนวัตวิถีที่ได้รับคัดเลือกเป็น 1 ในจำนวน 42 หมู่บ้านจากทั้งหมด 3,273 หมู่บ้านจากทั่วประเทศซึ่งบริบทด้านการท่องเที่ยวของบ้านป่าตาลแสดงความเป็นอัตลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีของชาวไตยองซึ่งมีทั้งวัดพิพิธภัณฑ์ฐานการเรียนรู้ ร้านอาหารและโฮมสเตย์ของชุมชนส่วนด้านประเพณีวัฒนธรรมก็จะมีการจัดกิจกรรมต่างๆซึ่งมีประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายกับทางศาสนาความเชื่อและประเพณีของชาวไตยองและด้านผลิตภัณฑ์ที่เป็นงานฝีมือของคนในชุมชนเป็นผู้ผลิตเองทั้งหมดสินค้ามีความเป็นเอกลักษณ์ที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของคนในชุมชนกระบวนการบริหารจัดการของกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนOTOPนวัตวิถีบ้านป่าตาลพบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับด้านบุคลากรด้านทักษะ ด้านโครงสร้าง ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ ด้านรูปแบบ ด้านกลยุทธ์ ตามลำดับส่วนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีบ้านป่าตาล กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วม ผู้นำ กฎระเบียบ การบริหารจัดการ แหล่งเงินทุนและการตลาด สำหรับกำหนดกลยุทธ์เพื่อใช้เป็นข้อเสนอแนวทางการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวของชุนชนบ้านป่าตาลแบ่งเป็น 6 กลยุทธ์ดังนี้ 1.กลยุทธ์การต่อยอดการท่องเที่ยวของชุมชน 2.กลยุทธ์การประสานความร่วมมือเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 3.กลยุทธ์การพัฒนาการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว 4.กลยุทธ์การส่งเสริมพัฒนาบุคลากรในชุมชน 5.กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดต่อการท่องเที่ยว 6.กลยุทธ์การสร้างจุดเด่นของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectนวัตวิถีth
dc.subjectกลยุทธ์th
dc.subjectการท่องเที่ยวชุมชนth
dc.subjectการพัฒนาการท่องเที่ยวth
dc.subjectNawatvithien
dc.subjectStrategyen
dc.subjectCommunity-Based Tourismen
dc.subjectTourism Developmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationOther service activitiesen
dc.titleTHE RECOMMENDATION OF OTOP NAWATVITHICOMMUNITY TOURISM DEVELOPMENT STRAGYFOR BANPATAN, BUAK KHANG SUB-DISTRICT, SAN KAM PHAENG DISTRICT,CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleข้อเสนอแนวทางกลยุทธ์การพัฒนาท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีชุมชนบ้านป่าตาล ตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorBongkochmas Ek - Iemen
dc.contributor.coadvisorบงกชมาศ เอกเอี่ยมth
dc.contributor.emailadvisorbkmas@mju.ac.th-
dc.contributor.emailcoadvisorbkmas@mju.ac.th-
dc.description.degreenameMaster of Public Administration (Master of Public Administration (Public Administration))en
dc.description.degreenameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสาธารณะ))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreediscipline-en
dc.description.degreediscipline-th
Appears in Collections:School of Administrative Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6205405006.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.