Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/202
Title: PROCESSING AND MARKETING OF QUALITY RICE LEAF TEA UNDER ARTIFICIAL LIGHT CONTROL
การผลิตและการตลาดชาคุณภาพจากข้าวภายใต้แสงเทียม
Authors: Thitiwat Rattanamenee
ฐิติวัฒน์ รัตนมณี
Chalinda Ariyadet
ชลินดา อริยเดช
Maejo University. Graduate School
Keywords: ชาข้าว การตลาด แสงเทียม
Rice leaf tea. Artificial light. Marketing.
Issue Date: 2018
Publisher: Maejo University
Abstract: This study to assess the effects of light quality on 6 variety rice seedlings of Oryza sativa Linn. for developing green tea product. As well as investigate the percent germination for consistency of rice seedling per area. 3 white seed cultivars, RD10, Thai Pathumthani Fragrant, Khao Dawk Mali 105 and 3 red seed cultivars, RD69, Black Jasmin Rice and Black Gluten Rice. Were used, 14 days after germination. The methods of green tea processing were studied in order to find out the most suitable way to produce green tea product under light quality control. The results showed that green tea products from all 6 rice cultivars were almost similar in term of valuable chemical content. Khao Dawk Mali 105 has shown the greatest aroma taste and β-glucan content (2.7 g.100 g-1) under red light condition, being significant different (2.633±0.12 g.100 g-1). The health effects contents such as caffeine and tannins were lower than those of other cultivars with the value of 71.52±0.0 mg.100 ml-1 and 0.201±0.33 mg.kg-1 respectively. From these results, Khao Dawk Mali 105 was selected to be the most satisfying as the way to market and product. 201 persons, Including students, Government officials, Businessmen, Housewives and Private entrepreneurs were selected to judge Rice Tea Product Satisfaction Test, 55.7 percent with daily-drinks. The results have shown that the satisfactory rate in safe and useful of products (4.48±0.68). The score 4.51±0.72 liked the smell as the most prominent features. (4.12±0.79 and 4.05±0.89, respectively). With a unique packaging it could achieve a market product value of 3.81±0.72.
การผลิตและการตลาดชาจากต้นกล้าข้าวพันธุ์ Oryza sativa Linn 6 สายพันธุ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ชาเขียว ทดสอบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดเพื่อใช้คำนวณหาปริมาณน้ำหนักเมล็ดที่ใช้ในการเพาะปลูก โดยใช้เวลา 14 วันหลังการงอกของเมล็ดพันธุ์สีขาว 3 สายพันธุ์ คือพันธุ์ กข10 (RD10) พันธุ์ปทุมธานี 1 พันธุ์ขาวดอกมะลิ105 (KDM105) และ เมล็ดสีแดง มีสายพันธุ์ทับทิมชุมแพ (RD69) พันธุ์หอมนิล (BJR) และพันธุ์เหนียวดำ (BGR) การผลิตชาเขียวภายใต้การควบคุมคุณภาพของแสงในระบบกึ่งปิด พบว่าผลิตภัณฑ์จากชาเขียวทั้ง 6 สายพันธุ์มีองค์ประกอบของสารต่าง ๆ ใกล้เคียงกัน โดยข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีความโดดเด่นของรสชาติและความหอม นอกจากนี้พบว่า β-glucan ภายใต้แสงสีแดง มีค่าสูงกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (2.633±0.12 กรัม.100-1 กรัม) และมีปริมาณสารที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น คาเฟอีน และเทนนินมีค่าต่ำกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (71.52±0.0 มิลลิกรัม.100-1 มิลลิลิตร และ 0.201±0.33 มิลลิกรัม.กิโลกรัม-1 ตามลำดับ) จึงเลือกใช้ข้าวหอมมะลิ105 ในการสำรวจความพึงพอใจ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเป็นผลิตภัณฑ์สู่การตลาด โดยการทดสอบความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ชาข้าวในกลุ่มตัวอย่าง 201 คน ประกอบด้วย นักศึกษา ข้าราชการ นักธุรกิจ แม่บ้าน และผู้ประกอบการอิสระ พบว่าร้อยละ 55.7 ดื่มเครื่องดื่มทุกวัน ผลการวิจัยพบมีความพึงพอใจในระดับดีมาก และมีความโดดเด่นในบรรจุภัณฑ์ด้านสะดวกในการชง และรูปลักษณ์ดี โดยมีความพึงพอใจต่อความปลอดภัย 4.48 ± 0.68 คะแนน รองลงมาเป็นองค์ประกอบที่มีในชาข้าวหอมมะลิ 4.52±0.63 และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 4.51±0.72 กลิ่น และรสชาติ 4.12±0.79 และ 4.05±0.89 ตามลำดับ สามารถเป็นผลิตภัณฑ์สู่การตลาดได้ 3.81±0.72
Description: Master of Science (Master of Science (Agricultural Interdisciplinary))
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สหวิทยาการเกษตร))
URI: http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/202
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5813301003.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.