Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/41
Title: THE DEVELOPMENT OF POTENTIALLY GOOD QUALITY OF LONGAN IN AGRICULTURAL COOPERATIVE BAN RONGWUA AREAOF CHAIPATTANA FOUNDATION
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพ ของเกษตรกรในพื้นที่โครงการสหกรณ์การเกษตรบ้านโรงวัวมูลนิธิชัยพัฒนา ตำบลแม่สอยอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
Authors: ONGARJ DITPRACHA
องอาจ ดิษฐประชา
Pathipan Sutigoolabud
ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร
Maejo University. Agricultural Production
Keywords: การถ่ายทอดองค์ความรู้
การผลิตลำไยให้มีคุณภาพตามวิธีของมูลนิธิชัยพัฒนา
ลำไยคุณภาพ
การพัฒนาศักยภาพ
knowledge transfer
quality longan produce according to The Chaipattana Foundation
quality longan
potential development
Issue Date: 2018
Publisher: Maejo University
Abstract: The purpose of this study was to explare the method of “ A Farmer teaches Farmer project” which Chaipattana Foundation employed this method in logan planting season 2016/2017. The method  allowed 4 farmers who had experience and knowledge in producing good quality of longan with Chaipattana Foundation since 2013 until now to teach new 13 farmers who have joined the program of producing good quality longan with Chaipattana Foundation. The 4 farmers who had  experience were called “Master Farmer". Those 4 master farmers were successful in producing good quality program by following method of Chaipattana Foundation. Findings showed that the 4 master farmers used various methods to transfer their knowledge to the new farmers for example; the master farmers called group meeting to explain how important to change the way to growing longan and ways to produce good quality of longan. Moreover, the four farmers also visited each of new farmer longan orchards to demonstrate how to cut branches and how to grow fresh longan fruits to meet  standard of Chaipattana Foundation. As a result of the method of “Farmer teaches Farmer, all of the 13 new farmers could follow procedures and able to produce good quality longan The good quality of longan means that the size of fresh longan fruits met the standard of Chaipattana Foundation which were grade AAA size and grade AA size of fresh longan fruits. Also, the fresh longan fruits were free from any chemical substance.
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพของเกษตรกร ในพื้นที่โครงการสหกรณ์การเกษตรบ้านโรงวัว มูลนิธิชัยพัฒนา ต.แม่สอย อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่”  เป็นงานวิจัยเพื่อศึกษาผลของการใช้วิธี “เกษตรกรสอนเกษตรกร” ซึ่งทางมูลนิธิชัยพัฒนาจะใช้วิธีเกษตรกรสอนเกษตรกรในฤดูกาลปลูกลำไยปี 2559/2560 โดยให้เกษตรกรต้นแบบจำนวน 4 ราย ที่ได้เข้าร่วมโครงการการผลิตลำไยให้มีคุณภาพตามวิธีของมูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งแต่ปี 2556 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเกษตรกรต้นแบบ ประสบความสำเร็จสามารถผลิตลำไยคุณภาพตามมาตรฐานของมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นผู้ที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตลำไยตามวิธีของมูลนิธิชัยพัฒนาแก่กลุ่มเกษตรกรรายใหม่จำนวน 13 ราย ที่เข้าร่วมกิจกรรมการผลิตลำไยให้มีคุณภาพกับทางมูลนิธิชัยพัฒนาในฤดูกาลปลูกลำไยปี 2559/2560 ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรต้นแบบถ่ายทอดวิธีการผลิตลำไยคุณภาพตามวิธีของมูลนิธิชัยพัฒนารวมถึงการถ่ายทอดเทคนิคเฉพาะของเกษตรกรต้นแบบสู่เกษตรกรรายใหม่ โดยใช้การจัดประชุมกลุ่มเกษตรกร การลงพื้นที่ของเกษตรกรรายใหม่ปฏิบัติให้เกษตรกรรายใหม่ได้เห็นวิธีการตัดแต่งกิ่งลำไยและการตัดแต่งช่อผลลำไยจริงพร้อมให้เกษตรกรรายใหม่ได้ทดลองปฏิบัติกับต้นลำไยจริง รวมถึงการลงพื้นที่เพื่อสำรวจต้นลำไยของเกษตรกรรายใหม่ จากวิธีการสอนดังกล่าวทำให้เกษตรกรรายใหม่มีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามขั้นตอน ซึ่งสะท้อนให้เห็นได้จากผลผลิตลำไยของต้นลำไยที่เกษตรกรรายใหม่ได้นำเข้าร่วมโครงการผลิตลำไยคุณภาพกับทางมูลนิธิชัยพัฒนา ที่ได้ผลผลิตลำไยคุณภาพขนาดเกรด AAA และขนาดเกรด AA ปลอดภัยจากสารพิษและสามารถขายได้ในราคาที่สูง
Description: Master of Science (Geosocial Based Sustainable Development)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน))
URI: http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/41
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5801417022.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.