Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1533
Title: ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศต่อจำนวนประชากร แบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในวงศ์ Azotobacteriaceae
Other Titles: Effect of ecosystem changes on the population of nitrogen fixing bacteria, azotobacteriaceae
Authors: โกศล, สังเกตุ
Keywords: แบคทีเรีย
นิเวศวิทยา
Issue Date: 2001
Publisher: maejo University
Abstract: การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศต่อจำนวนประชากร แบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในวงศ์ Azotobacteriaceae มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ประการคือ 1. เพื่อศึกษาถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะมต่อการดำรงชีพของเชื้อแบคทีเรีบตรึงไนโตรเจน 2. เพื่อศึกษาถึงพลวัตรของประขากรแบคทีเรียดรึงในโตรเจนในสภาพธรรมชาติที่ถูกรบกวนและไม่ถูก รบกวน โดยสุ่มเก็บตัวอย่างดินทุก ๆ ระยะ 2 เตือน เป็นเวลา 2 ปี ในระบบนิเวศวิทยาที่ต่างกันจาก 3 ภาคของประเทศไทย ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในแต่ละภาคจะเก็บตัวอย่างดินจาก 7 พื้นที่ที่มีระบบนิเวศแตกต่างกันผลการทดลองพบว่าเชื้อแบคทีเรียตรึงในโตรเจนในกลุ่มนี้สามารถดำรงชีพได้ดีในดินทีมีค่า pH ในช่วง 5.0-6.5 ปริมาณอินทรียวัตถุในช่วง 1.9 - 4.5% ซึ่งเชื้อแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในกลุ่มนี้มีจำนวนประชากรอยู่ในช่วง 2.11-2.67 เซลล์ต่อกรัมดินแห้ง (log number of celg dry sa) โดยบริเวณพื้นที่ที่มีการทำการเกษตรและพื้นที่รกร้างว่างเปล่มีจำนวน ประชากรแบคทีเรียมากกว่าพื้นที่บริเวณภูเขา พลวัตรของประชากรแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในกลุ่มนี้ จากการศึกษาตลอดชวงระยะเวลา 2 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ในฤดูฝนจำนวนประชากรแบคทีเรียในทุกระบบนิเวศเพิ่มขึ้นมากกว่าฤดูอื่น ๆ ผลการศึกษาลักษณะรูปร่าง โคโลนีและเซลล์ของแบคทีเรียตรึงไนโตรเจน พบว่า เชื้อ solate ส่วนใหญ่มีลักษณะโคโลนี กลม มีการสร้าง pigment แตกต่างกัน ได้แก่ สีเหลือง ชมหู ขาว ใส และ เทา ผิวหน้าโคโลนี มีทั้งแบบเรียบและโค้งนูน เซลล์ของเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นแกรมลบรูปท่อน และแกรมลบ รูปท่อนสั้น สำหรับประสิทธิภาพการตรึงในโตรเจนของเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกได้อยู่ในช่วง
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1533
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
koson-sungket.pdf78.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.