Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1538
Title: ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการธุรกิจนวดแผนไทยอย่างยั่งยืน
Other Titles: Strategies Planning of Sustainable Thai Massage Business
Authors: ลักขณา พันธุ์แสนศรี
Keywords: ความยั่งยืน
ธุรกิจนวดแผนไทย
การบริหารจัตการ
กลยุทธ์การเจริญเติบโต
Issue Date: 2016
Publisher: Maejo University
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาสถานการณ์การบริหารการดำเนินงานธุรกิจนวดแผนไทย 2) การวิเคราะห์คุณภาพการบริหารธุรกิจนวดแผนไทย 3) การสร้างยุทธศาสตร์การบริหารจัดการธุรกิจนวดแผนไทยอย่างยั่งยืน กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้คือ สถานประกอบการร้านนวดแผนไทยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 90 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวีเคราะห์ข้อมูลไช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที่ใช้ใต้แก่ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ยผลการศึกษาพบว่า สถานการณ์การบริหารการดำเนินงานธุรกิจนวดแผนไทยในจังหวัดเชียงใหม่มีการเดิบโตสูง เนื่องจากจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีศักยภาพต้านธุรกิจบริการสุขภาพที่โดดเด่นสอดคล้องกับกระแสการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยการบริการเพื่อสุขภาพนี้สามารถทำรายได้สู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของจังหวัดเขียงใหม่ใต้มาก ผู้ประกอบการสถานบริการนวดแผนไทยให้ความสำคัญกับการบริหารพนักงานนวดให้มีทักษะการให้บริการดี และให้ความสำคัญการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ในภาพรวมระดับปานกลาง กิจการมีสูตรลับเพาะไม่สมารถลอกเสียนแบบใต้ง่ายไม่ให้ความสำคัญ สถานประกอบการให้ความสำคัญกับใบประกาศนียบัตรรับรองของพนักงานบริการอยู่ในระตับมาก รองลงมาคือเพศของพนักงาน และการจัดการพนักงานนวดในร้านนวดต้านการให้สวัสติการพอกเหนือจากคำตอบแทนสถานประกอบการให้ความสำคัญระดับปานกลาง สถานประกอบการมีรูปแบบการประกอบธุรกิจแบบเจ้าของคนเตียว เปิตบริการทุกวัน ตั้งแต่ 9 โมงเข้า ถึง 3 ทุ่ม ช่วงเวลาที่ลูกค้าเข้าใขับริการมากที่สุตใต้แก่ช่วงเวลา 17.00 - 19.00น. ลูกค้าส่วนใหญ่ใช้บริการนวดเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ในราคา 300 - 350 บาท ลูกค้าที่เข้ามานวดส่วนใหญ่เป็นลูกค้าประจำใช้วิธีการโทรศัพท์เพื่อนัดหมายเวลา ในการบริหารจัดการร้านของกิจการอนุญาตให้พนักงานลาไปฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการนวด แต่ทั้งนี้พนักงานต้องเสียค่ใช้จ่ายเอง สถานประกอบการส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายต่อเตือนประมาณ 20,001 - 30,000 บาท มีอัตราส่วนการแบ่งรายใต้ระหว่าง พนักงานกับสถานประกอบการ ไนอัตราส่วน 40:60 ผลการวิเคราะห์คุณภาพการบริหารธุรกิจนวดแผนไทย ด้านคุณภาพการบริหารผลิตภัณฑ์นวดแผนไทยในประเด็นการวิคราะห์คุณภาพด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพลูกค้ามีคำคาดหวังด้านการ แต่งกายของพนักงานในระดับสูงสุด และการเปลี่ยนผ้าปูที่นอนปลอกหมอนแก่ผู้ใช้บริการใหม่ทุกรายในระดับต่ำสุด การวิเคราะห์คุณภาพด้านความน่าเชื่อถือลูกค้ามีค่คาตหวังสูงกว่าที่สถานประกอบการประเมินตนฮงเช่นเตียวกับกรวิเคราะห์คุณภาพด้านความรับผิดชอบและต้านความเอาใจใส่ของสถานประกอบการลูกค้ามีคำคาตหวังสูงกว่าสถานประกอบการประเมินตนเอง ส่วนต้านการประกันความมั่นใจกลับพบว่าลูกค้มีคำคาดหวังต่ำกว่ที่สถานประกอบการประเมินตนเอง สถาน ประกอบการให้ความสำคัญระดับปานกลางกับการมีแผนการเพิ่มคำตอบแทนให้แก่พนักงานเป็นระยะเวลาที่แน่นอน และไม่ให้ความสำคัญกับการตรวจสอบฝีมือการทำงานของพนักงานว่เหมาะสมกับคำตอบแทนที่ให้อยู่เสมอ สถานประกอบการไม่ให้ความสำคัญกับการบริหารการตลาดของสถานประกอบการ ไม่มีกรวงแผนการเพิ่มบริการใหม่ๆ เพื่อนำเสนอให้กับลูกค้า แต่สถานประกอบการให้ความสำคัญระดับปานกลางกับการทบทวนผลการปฏิบัติงานเพื่อนำผลมาปรับปรุงการดำเนินงาน สถานประกอบการไม่ให้ความสำคัญกับการบริหารการเงิน ไม่ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงการดำเนินงานเมื่อเงินสตสำรองมีไม่ถึงเป้าที่ตั้งไว้ แต่ให้ความสำคัญกับการแบ่งส่วนเงินใช้จ่ายในร้านกับใช้จ่ายในครัวเรือนระดับปานกลางยุทธศาสตร์การบริหารจัดการธุรกิจนวดแผนไทยควรเลือกข้อ คือกลยุทธ์การเจริญเติบโต(Growth strategy) ซึ่งในระยะแรก กิจการควรใช้กลยุทธ์พัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยการสรรหาบุคลากรที่มีใจรักต้านการบริการและมีความรู้ความสามารถในการให้บริการ รวมถึงการจัดฝึกอบรมเพิ่มพูนทักษะให้แก่พนักงานเดิมของสถานประกอบการ และกิจการใข้กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อสร้าง ความไต้เปรียบทางการแข่งขัน โดยใช้กลยุทธ์การเจริญเติบโตแบบรวมตัว (Integrative Growth Strategy) โดยรวมตัวในแนดิ่งกับผู้ขายวัตถุดิบในการให้บริการนวตแผนไทย หรืออาจดำเนินการเป็นผู้ผสิตผลิตภัณฑ์นั้นๆ เอง พรอมกับการนำกลยุทธการมุ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (Focus Strategy) มุ่งเน้นในการ ให้บริการแก่ลูกค้าที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพของการบริการ
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1538
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
lukkhana-punsaensri.pdf132.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.