Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1892
Title: ความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อการดำเนินงานโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
Other Titles: farmer's satistaction toward soybean seed production projects operation in muang district, lampang province, thailand
Authors: นภาจรัส อำมาตย์โยธิน
Keywords: ถั่วเหลือง
เมล็ดพันธุ์
เกษตรกร
ชลประทาน
Issue Date: 1992
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึง (1) ลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ผลิดเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (2) ความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อการดำเนินงานของ โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง และ(3) ปัญหาและอุปสรรคของเกษดรกรในโครงการผลิต เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและแนวทางปรับปรุง ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้คือ เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง (ถดูแล้ง) ในเขตชลประทาน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างแบบจับฉลากรวมทั้งสิ้นจำนวน 64 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมธัอมูลคือแบบสัมภาษณ์ เพื่อรวบวมข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อการดำเนินงานโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองข้อมูลที่ได้ถูกนำมาถอดรหัสและวิเคราะห์อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเดอร์โดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการ วิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลกาวศึกษ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลเกือบทั้งหมด เป็นเพศชายมีอายุโดยเฉลี่ย 45 ปี ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และผู้ให้ช้อมูลเกือบทั้งหมดได้สมรสแล้วสำหรับลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจของผู้ให้ข้อมูลพบว่า ผู้ให้ช้อมูลมีพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองโดยเฉลี่ย 9 ไร่ และส่วนมากปลูกถั่วเหลืองพันธ์ สจ. 4 โดยมีผลผลิต เฉลี่ย 185 กิโลกรัมต่อไร่ซึ่งยังต่ำกว่าผลผลิตต่อไร่ของเกณฑ์มาดวฐาน สำหวับเมล็ดพันธุ์นั้นเกษครกรขายให้แก่ศูนย์ ขยายพันธุ์พืชที่ 3 ลำปาง ผู้ให้ข้อมูลมีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 5 คน แต่มีแรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 3 คน ส่วนมากระบุว่ามีการจ้างแรงงานเนิ่มเติมในฤดูกาลปลูก ผู้ให้ข้อมูลมีประสบการณ์ในกาวปลูกถั่วเหลืองเดี่ย 9 ปี และส่วนมากระบุว่าเข้ารับการจัดการ ฝึกอบรมจากศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 3 ลำปาง สำหรับเหล่งความรู้ในการปลูกถั่วเหลืองคือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดทำแปลงขยายพันธุ์ผลการวิจัยความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อการดำเนินงานโครงการผลิตเมล็คนั่นธุ์ถั่วเหลืองพบว่า ผู้ให้ชัอมูลส่วนมากมีความพิงพอใจในวิธีการดำเนินงานทั้ง 7 กิจกรรม ซึ่งได้แก่ (1) การจัดหาและคัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเพื่อจัดทำแปลงขยายพันธุ์(2) วิธีการจัดหาและคัดเลือกพื้นที่และ เกษตรกรเพื่อจัดทำแปลงขยายพันธุ์ (3) การจัดการฝึกอบรมเกษตรกรผู้จัดทำแปลงขยายพันธุ์ (4) หน้าที่และความรับผิดชอบของเกษตรกรผู้จัดทำแปลงขยายพันธุ์ถั่วเหลือง (5) ระบบควบคุมและตรวจสอบคุณภานเปลงขยายพันธุ์ถั่ว เหลือง (6) การประมาถการผลผลิดเพื่อเตรียมการจัดซื้อคืนเมล็ดพันธุ์จากแปลงขยายพันธุ์ถั่วเหลือง(7) การจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองคืนจากแปลงขยายพันธุ์แต่อย่างไรก็ตามในการดำเนินงานของกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ยังมีผู้ให้ช้อมูลบางส่วนระบุว่าไม่พึงพอใจประเด็นย่อยต่าง ๆ คือ (1) การที่ต้องเป็นผู้จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้และปุยยาเคมีเ อง (2) การกำจัดไม่ให้ปลูกพืชอื่น ๆ รอบเปลงขยายพันธุ์(3) การที่ต้องมีพื้นที่คิดต่อกันถึง 50-60 ไร่ (4) การจัดการฝึกอบรมที่ใช้เวลานานเกินไปและบางเรื่องเกษตรกรก็รู้อยู่แล้ว (5) การที่ต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและเชื้อไรโซเบี้ยมด้วยเงินสด (6) เปอร์เซนต์ความงอกของถั่วเหลืองต่ำและชนาดไม่สม่ำเสมอ (7) การกำหนดให้การยกแปลงให้สูงทำให้มีปัฏหาเกี่ยวกับการให้น้ำ (8) การที่เจ้าหน้าที่นำเมล็ดพันธุ์ไปตรวจสอบมากเกินไป (9) การที่ต้องชนย้ายเมล็ดพันธุ์ทั้งหมดไปรวมไว้บ้านหัวหน้ากลุ่มทำให้ต้นทุนสูง (10 ) การที่ศูนย์ขยายพันธุ์พืชจ่าย เงินแก่เกษดรกรในรูปของเช็คแทนเงินสดสำหรับปัญหาอุปสรรคในการดำ เนินงานโครงการผลิต มล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในทรรศนะของผู้ให้ชัมูลพบว่า มีปัญหาด้านบุคลากรกล่าวคือ เจ้าหน้าที่ของศูนย์ขยายพันธุ์พืซไม่ค่อยมาเยี่ยมเ ยียน ปัญหาด้านเงินทุคือ การจ่ายเงินของศูนย์ขยายพันธุ์พืชซึ่งจ่ายในรูปของเช็ค ด้านวัสคุอุปกรณ์มีปัฏหาในเรื่องของเครื่องนวดเมล็ดพันธุ์ยังไม่เพียงพอความงอกของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองยังต่ำไป ส่วนปัญหาด้านเทคนิคในการจัดการพบว่าผู้ให้ข้อมูลรวมทั้งมีปัญหาในเรื่องแรงงานไม่เพียงพอและการให้น้ำยังขาดในช่วงออกดอกและติดผล
Description: เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต สาขาส่งเสริมการเกษตร Master of Agricultural Technology (Agricultural Extension)
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1892
Appears in Collections:

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
napajarat-ammartyothin[1].PDF2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.