Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2029
Title: ผลกระทบจากการเกษตรบนพื้นที่สูงต่อคุณภาพน้ำและการสะสมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในตะกอนท้องน้ำ กรณีศึกษา: ลุ่มน้ำแม่เตียนตอนบน ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: aImpact of Highland Farmin on Water Quality and Pesticide Residues in Sediment: A Case Study of Upper Maetien Subwatershed, Tambon Maewin, Amphur Maewan Chiang Mai, Thailand
Authors: สุวิทย์ ทะเลไพรพนา
Keywords: เกษตรที่สูง
ไทย
เชียงใหม่
แม่วาง
ลุ่มน้ำ
Issue Date: 2007
Publisher: Maejo University
Abstract: การศึกษาผลกระทบจากการเกษตรบนพื้นที่สูงต่อคุณภาพน้ำและการสะสมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในตะกอนท้องน้ำ กรณีศึกยาลุ่มน้ำแม่คียนตอนบน ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วางจังหวัดเชียงใหม่ โคขมีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการเพาะปลูก การใช้ปุ้ยและสารเคมื และการสะสมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในตะกอนท้องน้ำ เพื่อประเมินสถานภาพของทรัพยากรแหล่งน้ำในลุ่มน้ำแม่เตียนตอนบน โคยใช้คัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำ (water quality index) คัชนีมลพิษของแม่น้ำ (river pollution index) การสะสมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในตะกอนท้องน้ำและสัตว์ไม่มีกระดูกส้นหลังขนาคใหญ่ในน้ำ (macro invertebrate) ในปีการเพาะปลูก 2548 โคยมีเนื้อหาประกอบด้วยกิจกรรมการใช้ที่ดินและระบบการผลิตทางการเกษตร และคุณภาพน้ำทางกายภาพ ชีวภาพและเคมีสภาพทั่วไปของพื้นที่ลุ่มน้ำแม่เตียนตอนบนเป็นภูเขา ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น1A มีประชากรสองเผ่า คือ เผ่ามั่งอาศัยอยู่ในพื้นที่มากที่สุดและเผ่ากะเหรี่ยง ประกอบอาชีพการเกษตรกรรมเป็นหลัก ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สามารถจำแนกการเพาะปลูกได้ 4 ประเภท คือพืชผัก พืชไร่ ไม้คอก และไม้ยืนต้น ระบบการเพาะปลูกแบบเชิงเคี้ยว (single or mono-cropping system) เพื่อการจำหน่าย โดยมีพืชผักเป็นรายได้หลักได้แก่ ผ้กสลัค กะหล่ำปลี คะน้า เป็นต้น และมีไม้ยืนต้นที่สำคัญ ได้แก่ สาถี่ พลับ บ๊วย เป็นต้น การเกษตรอาศัยแหล่งน้ำจากลำน้ำแม่เดียนเป็นหลัก ปัจจุบันมีความต้องการใช้น้ำปริมาฌมากขึ้น เนื่องจากปริมาณการเพาะปลูกขยายตัวอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่ยังมีเพียงพอต่อความต้องการในฤดูฝนและเริ่มมึการขาดแคลนในฤดูแล้งทั้งการอุปโภคบริโภคและการเกษตร ซึ่งจากสภาพโดยทั่วไปมีการบุกรุกพื้นที่ป่เพื่อการเกษตรและการปล่อยของเสียจากพื้นที่เกษตร เกิดความไม่มั่นใจในการนำน้ำมาใช้อย่างปลอดภัยและเพียงพอได้ พื้นที่การเกษตรที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกมีจำนวนน้อย เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ถาคชัน มีการใช้พื้นที่หมาะสมต่อการเพาะปลูกส่วนใหญ่ 4 ครั้งปี สูตรปุ้ยเคมีที่นิยมใช้มีธาตุอาหารหลักและเน้นที่มีธาตุในโตรเจน (N) และฟอสฟอรัส(P) ที่ให้การเจริญทางต้นและใบแก่พืชผักที่ปลูกเป็นหลัก เกษตรกรเลือกใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ปรากฎจัดอยู่ในกลุ่ม Organophosphorus, Carbamante และกลุ่ม Pyrethroid ซึ่งโดยรวมทั้งสองเผ่ามีอัตราการใช้ปุ๋ยสารดมีใกล้เคียงกันขึ้นอยู่กับความสามารถในการลงทุน ความจำเป็น ตลอดจนความอุคมสมบูรณ์ของสภาพพื้นที่ และส่วนใหญ่มีความเข้าใจและตระหนักถึงอันตรายจากสารเคมีที่ดีพอสมกวร และมีรายได้จากการเกษตรต่อปีทั้งสองเผ่า 10,000-20,000 บาทต่อไร่ปีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตในพื้นที่ปัจจุบัน ทำให้ภูมิปัญญาต่าง ๆ เริ่มปรากฏน้อยลง การผลิดที่มุ่งสู่การจำหน่ายขาดการใส่ใจปรับปรุงบำรุงดิน มีโครงการหลวงที่ให้การส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยทางการเกษตรบางอย่าง และเกษตรกรต้องการช่วยเหลือทางด้านทรัพยากรน้ำอย่างมาก และตลาดรับซื้อผลผลิตที่ดีการประเมินค้านคุณภาพน้ำทางกายภาพจากคัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำ (watcr quality indexd และดัชนีชี้วัดมลพิษของแม่น้ำ (river pollution index) คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ที่ดี "พอใช้" ทางเคมีพบการปนเปื้อนของสารเคมีกลุ่ม Organophosphorus ที่ปรากฏการใช้มากที่สุคชนิด Mevinphos และ Chlorpyrifos และกลุ่ม Carbamate ชนิค Carbofuran ในบางบริเวณพื้นที่ทำการเกษตร และทางชีวภาพโดยการศึกษาปริมาณสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ จากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกร พบว่าปัจจุบันมีการลคลง เนื่องจากการรบกวนแหล่งที่อยู่อาสัยทั้งทางตรงและอ้อม ทำให้สัตว์น้ำต่างๆ ไม่สามารถทนต่อสภาพแวคล้อมที่เป็นอยู่ดำรงชีวิตต่อไปได้ และการตรวจหาสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าคิน (macro invertebrate) โดยใช้ระบบการประเมิน Biomonitoring working party Score โดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ "พอใช้" เช่นเดียวกับทางภายภาพและเคมี แสดงให้เห็น ถึงความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำลุ่มน้ำแม่เตียนตอนบน ภายใต้สภาวะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีการใช้ปุ๋ยและสารเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องในระบบการผลิตปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทั้งทางกายภาพ ชีวภาพและเคมี"
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2029
Appears in Collections:Business Agriculture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suwit-talaypraipana.PDF3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.