Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2196
Title: ประสิทธิผลการเรียนรู้ผ่านสื่อ interactive magazine ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Learning effectiveness through interactive magazine of secondary school students in Sansai district, Chiangmai
Authors: กนกวรรณ สมบัติภิญโญ, kanokwan-sombatpinyo
Keywords: การเรียนการสอนผ่านเว็บ
คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
Issue Date: 1994
Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เปรียบเทียบประสิทธิผลการเรียนรู้เชิงพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ระหว่างการอ่านนิตยสารปกติและการอ่านนิตยสารอินเทอแรดที่ฟ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2) ความสนใจและเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยม อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อการอ่านนิตยสารอินเทอแรดที่ฟการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ใช้การทดลองแบบ randomized pretest-posttest control group design โดยกลุ่มตัวอย่างงานวิจัยประกอบด้วขนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนสันทรายวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีที่ 4 และปีที่ 5โดยนำมาสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวนทั้งหมด 60 คน แบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มแรกเรียนรู้การอ่านด้วยนิตยสารแบบปกติ อีกกลุ่มเรียนรู้การอ่านด้วชนิดสารอินเทอแรดที่ฟ เนื้อหาที่นำมาให้ศึกษาเรียนรู้คือ ด้านพุทธิพิสัย เรื่อง "การเพาะเห็ดหอม" ด้านจิตพิสัย เรื่อง "หายใจรดต้นคอไทย แผ่นดินไหว"และด้านทักษะพิสัย เรื่อง "เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์"การวิจัยได้ออกแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลสำหรับใช้ประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน ที่มีต่อการอ่านนิตยสารปกติและการอ่านนิตยสารอินเทอแรคทีฟแบบสอบถามประกอบด้วยแบบทดสอบวัดผลการเรียนและแบบสอบถามการสัมภาษณ์ประเมินการเรียนเป็นแต่ละค้านคือ การเรียนรู้ในเชิงพุทธิพิสัยแยกเป็น 3 ค้าน คือ ด้านความรู้ความจำ ด้านความเข้าใจ และค้านการนำไปใช้ การเรียนรู้ในเชิงจิตพิสัแยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการรับรู้ ด้านการตอบสอง และค้านการสร้างคุณค่า และการเรียนรู้เชิงทักษะพิสัย 3 ด้าน คือ ด้านการรับรู้และเถียนแบบ ค้านการปฏิบัติได้ถูกต้อง และด้านการปฏิบัติได้และคล่องแคล่ว โดยแบบทดลองแยกเป็นกรณีก่อน (pretest) และหลังการเรียนรู้ (posttest) ส่วนท้ายสุดของการทดลองเป็นแบบสอบถามสัมภาษณ์ความสนใจและเจตคติที่มีต่อการอ่านนิตยสารปกติและการอ่านนิตยสารอินเทอแรดทีฟที่นำเสนอ ข้อมูลจากการทคลองถูกนำมาวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อหาค่าสัดส่วนร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า chi-square ค่า r-test และวิเคราะห์เชิงคุณภาพสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ผลการทคสอบลักษณะพื้นฐานทั่วไปค้น เพศ อายุ การศึกษา ความถี่และประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ที่อ่าน รวมทั้งความวุ้นเคยในเรื่องที่จะทำการทคลอง พบว่า ลักษณะพื้นฐานทั่วไปของนักเรียนและความคุ้นเคยต่อเรื่องที่จะทำการทดสอบของกลุ่มนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การประเมินความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังการอ่านนิตยสารปกติและหลังการอ่านนิตยสารอินเทอแรคที่ฟ (knowledge increased) พบว่า 1) พุทธิพิสัย ด้านความรู้ความจำ พบว่า กลุ่มที่อ่านนิดยสารอินเทอแรคทีฟมีผลด้านความรู้ความจำสูงกว่ากลุ่มที่อำานนิตยสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านความเข้าใจ พบว่ากลุ่มที่อ่านนิดขสารอินเทอแรกทีฟมีผลค้านดวามเข้าใจสูงกว่ากลุ่มที่อ่านนิดยสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านการนำไปใช้ พบว่ากลุ่มที่อ่านนิดยสารอินเทอแรคทีฟมืผลค้านการนำไปใช้สูงกว่ากลุ่มที่อ่านิตยสารปกติอย่างมีไม่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) จิตพิสัย ด้านการรับรู้ พบว่า กลุ่มที่อ่านนิตยสารอินเทอแรดทีฟมีผลการรับรู้สูงกว่ากลุ่มที่อ่านนิตยสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านการตอบสนองและด้านการสร้างคุณค่าพบว่ากลุ่มที่อ่านนิตยสารอินเทอแรดทีฟเกิดการตอบสนองและสร้างคุณค่าในระดับที่สูงกว่าการอ่านนิตยสารปกติ3) ทักษะพิสัย ด้านการรับรู้และเลียนแบบ พบว่ากลุ่มที่อ่านนิตยสารอินเทอแรคทีฟมีผลด้านการรับรู้และเลียนแบบสูงกว่ากลุ่มที่อำานนิตขสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านการปฏิบัติได้ถูกต้อง พบว่า กลุ่มที่อ่านนิตยสารอินเทอแรดทีฟมีผลการปฏิบัติได้ถูกต้องสูงกว่ากลุ่มที่อ่านนิตยสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านการปฏิบัติได้คล่องแคล่วพบว่ากลุ่มที่อำนนิตยสารอินเทอแรดทีฟมีผลการปฏิบัติได้คล่องแคล่วสูงกว่ากลุ่มที่อ่านนิตยสารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2196
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan-sombatpinyo.PDF4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.